IT Channel

วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554

บทที่ 2กระบวนการและรูปแบบการจัดการความรู้

ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษา รวมถึงประสบการณ์ความเข้าใจ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือปฏิบัติ
รูปแบบความรู้
1.ความรู้ชักแจ้ง (Explicit knowledge)
2.ความรู้ที่อยู่ในตัวตน (tacit knowledge)
กระบวนการสร้างปัญญา 10 ประการ
1.สังเกต
2.บันทึก
3.นำเสนอ
4.ปุฉจา  วิสัชนา
5.ตั้งสมมุติฐาน
6.ตั้งคำถาม
7.แสวงหาคำตอบ
8.วิจัยความรู้ใหม่
9.เชื่อมโยงความรู้กับความจริงรอบตัว
10.เขียนและสรุป
ตัวอย่างแนวคิดด้านการจัดการความรู้ ของโนนาคะและทาเคอุชิ (Nonaka & Takeuchi)
สามารถจำแนกได้เป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
1.1  รับความรู้ภายในสู่ภายใน (socialization)
1.2  นำคาวมรุ้ภายในบุคคล สู่ภายนอก (externalization)
1.3  รับความรู้ภานนอกเข้าสู่ภายในบุคคล (internalization)
1.4  ผนวกความรู้ที่ชัดเจนเข้าด้วยกัน (combination)
เครื่องมือความรู้
1.   ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of  Practice – CoP)
2.   การใช้ที่ปรึกษาหรือพื่เลี้ยง (Mentoring System)
3.   การทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Actionreview – AAR)
4.   การเสวนา (Dialogue)
5.   ฐานความรู้ บทเรียน และความสำเร็จ (Lessow Leamed)
6.   แหล่งผู้รู้ในองค์กร (center of Excallence – CoE)
7.   การเล่าเรื่อง (Story Telling)
8.   เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)
9.   เวที ถาม-ตอบ (Forum)
10.อื่น ๆ (Others)